Chum Krairoek (complete title Chao Chom Manda Chum Krairoek Royal Highness Consort of King Chulalongkorn (Rama V) of Siam (Thai: เจ้าจอมมารดาชุ่ม ไกรฤกษ์) was a daughter of Phraya Mongkolrat Rajamontri (Chuang Krairoek) and Khai Krairoek.[1][2]

Chum Krairoek
Royal noble consort of Siam
Chao Chom Manda Chum Krairoek
Born(1869-09-19)19 September 1869
Bangkok, Siam
Died22 June 1911(1911-06-22) (aged 41)
Bangkok, Siam
Spouse(s)Chulalongkorn (Rama V)
IssuePrincess Adorndibyanibha
Princess Suchitra Bharani
FatherChuang Krairoek
MotherKhai Krairoek

She moved to the Grand Palace to be a royal consort of King Chulalongkorn with the royal title Chao Chom Manda (Royal High Consort)

She had 2 children with King Chulalongkorn;

  1. Princess Adorndibyanibha
  2. Princess Suchitra Bharani

References

edit
  1. ^ "ประวัติศาสตร์ชาติไทยและข่าวสาร - เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในชุดสตรีตะวันตก เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระมงคลรัตน์ราชมนตรี (ช่วง ไกรฤกษ์) กับ ไข่ มงคลรัตน์ราชมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2412 เจ้าจอมมารดาชุ่ม มีพี่น้องร่วมบิดาเดียวกันกับท่าน 10 คน ได้แก่ คุณสงวน ภรรยาพระราชประสิทธิ์ คุณเสงี่ยม ภรรยาหลวงนายเสน่ห์รักษา คุณถนอม คุณชื่น คุณหญิงจันทร์ ภรรยาพระยาพิพิธโภไคยสวรรย์ (เชฐ หังสสูต) พระยาราชสัมภารากร (ชม ไกรฤกษ์) เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) คุณใย พระยาประเสริฐศุภกิจ (เพิ่ม ไกรฤกษ์) ต่อมาท่านได้ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน และให้ประสูติกาลพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2 พระองค์ คือ พระองค์เจ้าหญิงอาทรทิพยนิภา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 5 แรม 6 ค่ำ ปีฉลู เอกศก จุลศักราช 1251 ตรงกับวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2432 พระองค์เจ้าหญิงสุจิตราภรณี ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ แรม 13 ค่ำ ปีขาล โทศก จ.ศ. 1252 ตรงกับวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 เจ้าจอมมารดาชุ่มถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2454 สิริอายุ 42 ปี เจ้าจอมมารดาชุ่ม เป็นเจ้าจอมที่ทรงโปรดมากคนหนึ่ง เพราะท่านสามารถพูดภาษาอังกฤษได้คล่อง จึงได้รับพระกรุณาธิคุณให้ตามเสด็จประพาสชวาถึงสองครั้ง ครั้งแรกในปีพ.ศ. 2439 เจ้าจอมมารดาชุ่มได้ตามเสด็จพระราชดำเนินโดยรับหน้าที่เป็นนางสนองพระโอษฐ์ให้กับสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี ครั้งที่ 2 ในปีพ.ศ. 2444 เจ้าจอมมารดาชุ่มได้ตามเสด็จพระราชดำเนินอีกครั้ง โดยในครั้งนี้พระเจ้าลูกเธอของท่านโสกันต์แล้ว จึงได้ตามเสด็จพระราชดำเนินด้วยทั้งสองพระองค์ ส่วนสาเหตุที่เจ้าจอมมารดาชุ่มได้ตามเสด็จด้วยนั้นเป็นเพราะว่า "ท่านใส่ชุดฝรั่งขึ้น" ในการตามเสด็จประพาสชวาครั้งที่ 2 ของเจ้าจอมมารดาชุ่มนั้น ยังมีเจ้านายฝ่ายในอีกหลายท่านตามเสด็จด้วย ได้แก่ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ , พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี , พระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ ,เจ้าจอมเอี่ยม และ เจ้าจอมเอิบ ส่วนพระราชธิดาที่ตามเสด็จด้วยนอกจากพระเจ้าลูกเธอทั้งสองของเจ้าจอมมารดาชุ่มแล้ว ยังมี สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงสุทธาทิพยรัตน์ , สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงมาลินีนพดารา และ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงนิภานภดล Cr.วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี | Facebook".
  2. ^ "เวียงวัง - เจ้าจอมพระสนมเอก ในรัชกาลที่ 5".